วันพุธที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2559

การบริหารจิต

การบริหารจิต

              พระพุทธศาสนาเน้นเรื่องการฝึกจิตเป็นสำคัญ เพราะมนุษย์มีจิตเป็นตัวนำการ กระทำทุกอย่าง จะต้องมีการพิจารณา คิดนึกตรึกตรองเสียก่อน   การฝึกจิตหรือการบริหารจิต จึงเป็นการกระทำเพื่อให้จิตมีสภาพตั้งมั่น มีสติระลึกได้ มีสัมปชัญญะรู้สึกตัวทั่วพร้อมตลอดเวลา
              การบริหารจิต  หมายถึง  การฝึกฝนอบรมจิตให้เจริญและประณีตยิ่งขึ้น  มีความปลอดโปร่ง มีความหนักแน่นมั่นคง   โดยเริ่มจากการฝึกฝ อ่านเพิ่มเติม

พุทธศาสนสุภาษิต

พุทธศาสนสุภาษิต


สุภาษิต แปลว่า  ถ้อยคำที่กล่าวไว้ดี (สุ=ดี,  ภาษิต=กล่าว) สามารถนำมาเป็นคติ   ยึดถือเป็นหลักใจได้
พุทธศาสนสุภาษิต  หมายถึง ถ้อยคำดีๆ ในพระพุทธศาสนา  แต่มิได้หมายความเฉพาะคำที่พระพุทธองค์ตรัสไว้เท่านั้น แม้สุภาษิตแท อ่านเพิ่มเติม

พระไตรปิฎก

พระไตรปิฎก เป็นคัมภีร์ที่บันทึกคำสอนของพระโคตมพุทธเจ้า[1] ไตรปิฎก แปลว่า ตะกร้า 3 ใบ เพราะเนื้อหาแบ่งเป็น 3 หมวดใหญ่ ๆ คือ
  1. พระวินัยปิฎก ว่าด้วยพระวินัยสิกขาบทต่าง ๆ ของภิกษุและภิกษุณี
  2. พระสุตตันตปิฎก ว่าด้วยพระสูตรซึ่งเป็นพระธรรมเทศนาของพระโคตมพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวก ที่แสดงแกบุคคลต่างชั้นวรรณะและการศึกษา ต่างกรรมต่างวาระกัน มีทั้งที่เป็นร้อยแก้ อ่านเพิ่มเติม

อริยสัจ4

อริยสัจ 

หรือจตุราริยสัจ หรืออริยสัจ 4 เป็นหลักคำสอนหนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้า แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ ความจริงของพระอริยบุคคล หรือความจริงที่ทำให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ มีอยู่สี่ประกา อ่านเพิ่มเติม

พระรัตนตรัย

พระรัตนตรัย หรือพระไตรรัตน์ หมายถึง แก้วสามประการอันประเสริฐสุดของพุทธศาสนิกชน[1] ที่เรียกว่า รัตน (แก้ว) เพราะว่าเป็นสิ่งที่ประเสริฐ มีค่าสูง และหาได้ยาก เทียบด้วยดวงแก้วมณี
พระรัตนตรัย คือ พระพุทธเจ้า, พระธรรม และพระสงฆ์ ซึ่งเรียกเต็มว่าพุทธรัตนะ, ธรรมรัตนะ, สังฆรัตนะ ซึ่งได้แก่

ศาสนพิธี

ศาสนพิธี


  หมายถึง  ระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างที่ถือปฎิบัติในศาสนา  เมื่อนำมาใช้ในพระพุทธศาสนา  จึงหมายถึงระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างที่พึงปฎิบัติในพระพุทธศาสนา ศาสนพิธีต่างๆ  ช่วยทำให้ความศรัทธาต่อพระพุทธศาสนิกชนมีความแน่นแฟ้นยิ่งขึ้นเป็นสิ่งตอกย้ำใจให้ระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัยได้อย่างดีเยี่ยม  จึงเป็นระเบียบแบบแผนอันดีงามที่ควรรักษาไว้คู่กับพระ อ่านเพิ่มเติม
 

หลักธรรมที่เกี่ยวเนื่องในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

หลักธรรมที่เกี่ยวเนื่องในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาเป็นวันที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ มีอยู่ด้วยกัน 6 วัน 1. วันมาฆบูชา 2. วันวิสาขบูชา 3. วันอัฏฐมีบูชา 4. วันอาสาฬหบูชา 5. วันเข้าพรรษา 6. วันออกพรรษา เมื่อถึงวันสำคัญเช่นนี้ พุทธศาสนิกชนต่างร่วมใจกันประกอบพิธีนั้น เพื่อเป็นการระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัย และสิ่งสำคัญที่พุทธศาสนิกชนควรตระหนักคือ การน้อมเอาหลักธรรมที่เกี่ยวกับวันสำคัญเหล่านี้  อ่านเพิ่มเติม

ชาดก

ชาดก

ตอนตักกบัณฑิตชาดก

พระชาติหนึ่งของพระพุทธองค์บังเกิดขึ้นในที่พักสงฆ์ พระอารามเชตวัน กรุงสาวัตถี ภิกษุหนุ่มรูปหนึ่งเมื่อออกบิณฑบาตได้พบกับสตรีผู้เลอโฉมเข้าในเช้าวันหนึ่งเนื่องจากภิกษุรูปนี้ยังมีพรรษาในเพศบรรพชิตไม่มากนักทำให้ไม่สามารถละกิเลสได้โดยเกิดความต้องจิตพิศมัยในความงามของสตรีนาง อ่านเพิ่มเติม

พุทธประวัติ

พุทธประวัติ


พระพุทธเจ้ามีพระนามเดิมว่า "สิทธัตถะ" เป็พระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะ กษัตริย์ผู้ครองกรุงกบิลพัสดุ์ แคว้นสักกะ ซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่ทางภาคใต้ของประเทศเนปาล พระราชมารดาทรงพระนามว่า "พระนางสิริมหามายา" ซึ่งเป็นพระราชธิดาของกษัตริย์ราชสกุลโกลิยวง อ่านเพิ่มเติม

ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา 


พระพุทธศาสนานอกจากจะเป็นศาสนาประจำชาติไทย และเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทยแล้วพระพุทธศาสนายังเป็นรากฐานสำคัญของวัฒนธรรมไทยอีกด้วย จะเห็นได้จากวิถีชีวิตของคนไทยที่ผูกพันอยู่กับพระพุทธศาสนา ความคิดและกิจกรรมทุกด้านของชาติไทยล้วนผสมผสานอยู่ในพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา    พระพุทธศาสนาได้ อ่านเพิ่มเติม